หมวดวิชา | รหัสและชื่อรายวิชา | หน่วยกิต(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
---|---|---|
ศึกษาทั่วไป | 30815059 : พลังงานเพื่อชีวิต (Energy for Life) | 2 (2-0-4) |
40240359 : หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคม (Sufficiency Economy and Social Development) | 2 (2-0-4) | |
88510159 : ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที (Moving Forward in a Digital Society with ICT) | 3 (2-2-5) | |
99910159 : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) | 3 (3-0-6) | |
วิชาแกน | 75210062 : หลักสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ (Information Technology and Business Innovation Fundamentals) | 3 (3-0-6) |
75210162 : คณิตศาสตร์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ (Mathematics for Information Technology and Business Innovation) | 3 (3-0-6) | |
วิชาบังคับ | 75210262 : ประเด็นด้านจริยธรรม กฎหมายและสังคมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Ethical, Legal, and Social Issues in Information Technology) | 3 (3-0-6) |
รวม (Total) | 19 |
ความหมาย ประเภท แหล่งกำเนิดพลังงาน มนุษย์กับการใช้พลังงาน ปัญหาและแนวทางการแก้ไขการใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน และการใช้พลังงานแบบเศรษฐกิจพอเพียง
Definitions; types; energy sources; human and energy consumption; energy consumption problems and solving methods; energy conservation; and sufficiency economy way in energy consumption
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น วิชาชีพ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ
2. ด้านความรู้
2.2 เข้าใจและอธิบายปัญหาหรือความต้องการทางคอมพิวเตอร์ และ/หรือนวัตกรรมทางธุรกิจ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สามารถทำงานเป็นทีม โดยให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
ความหมาย หลักการ แนวคิด ความสำคัญ แนวทางปฏิบัติ และความสัมพันธ์ของหลักเศรษฐกิจพอเพียงต่อการพัฒนาตนเองและสังคม โครงการตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคม และการประยุกต์ความรู้ของหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาสังคม
Definition, principles, concepts, significance, operational guidelines and relationship between concept of sufficiency of economy and self and social development; royal initiative sufficiency economy and social development; and application of knowledge to improve the quality of life
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น วิชาชีพ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ
2. ด้านความรู้
2.1 เข้าใจและอธิบายในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.2 เข้าใจและอธิบายปัญหาหรือความต้องการทางคอมพิวเตอร์ และ/หรือนวัตกรรมทางธุรกิจ
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.2 สืบค้น ตีความ วิเคราะห์ ประเมินสารสนเทศและมีทักษะการคิดแบบองค์รวม เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์และสอดคล้องกับสถานการณ์
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีจิตสาธารณะ สานึกในความเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคม มีความเป็นไทย และมีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม มีจิตสาธารณะ สานึกในความเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคม มีความเป็นไทย และมีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับสังคมดิจิทัล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร การเข้าถึงและการใช้ข้อมูล การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย โปรแกรมประยุกต ์และการบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภัยคุกคามและความปลอดภัยในการใช้อินเทอร์เน็ต กฎหมายและจริยธรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในอนาคต
Information technology and communication for digital society; information technology and communication applications; accessing and applying data; data communication and computer networks; services and applications on the Internet; Internet
2. ด้านความรู้
2.2 เข้าใจและอธิบายปัญหาหรือความต้องการทางคอมพิวเตอร์ และ/หรือนวัตกรรมทางธุรกิจ
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหาความรู้ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ ประยุกต์ เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถใช้ข้อมูลเชิงตัวเลข และเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เท่าทันและเหมาะสม
ทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นศัพท์และ โครงสร้างพื้นฐานเพื่อใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน
Skills in listening, speaking, reading and writing English with emphasis on vocabulary and basic structure to achieve a practical command of the English language for communication in daily life
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น วิชาชีพ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ
2. ด้านความรู้
2.1 เข้าใจและอธิบายในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เข้าใจและอธิบายในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.2 เข้าใจและอธิบายปัญหาหรือความต้องการทางคอมพิวเตอร์ และ/หรือนวัตกรรมทางธุรกิจ เข้าใจและอธิบายปัญหาหรือความต้องการทางคอมพิวเตอร์ และ/หรือนวัตกรรมทางธุรกิจ
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหาความรู้ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ ประยุกต์ เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหาความรู้ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ ประยุกต์ เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
3.2 สืบค้น ตีความ วิเคราะห์ ประเมินสารสนเทศและมีทักษะการคิดแบบองค์รวม เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์และสอดคล้องกับสถานการณ์ สืบค้น ตีความ วิเคราะห์ ประเมินสารสนเทศและมีทักษะการคิดแบบองค์รวม เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์และสอดคล้องกับสถานการณ์
5. ด้านในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2 สื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม สื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
ความรู้ในภาพรวมของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาพจำลองของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสำคัญของข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารความซับซ้อน กระบวนการการเปลี่ยนแปลงและการ นำระบบเข้าสู่องค์การ การบริหารโครงการ การบริหารสารสนเทศ การประกันและรักษาความมั่นคง ของสารสนเทศ เทคโนโลยีระบบสารสนเทศและการสื่อสาร การเป็นนักเทคโนโลยีสารสนเทศและ แขนงวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้อง พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เวิลด์ไวด์เว็บ ผลกระทบที่เกิดต่อสังคม และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจ
Pervasive themes in information technology; system model; data and information; management of complexity; redesigning processes and application of information technology in business; project management; information management; information assurance and security; information and communication technologies; information technology professionalism; information technology and related disciplines; history of computing technology; user interaction; internet and world wide web; social impacts; and uses information technology for develop business innovation
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. ด้านความรู้
2.1 เข้าใจและอธิบายในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.2 เข้าใจและอธิบายปัญหาหรือความต้องการทางคอมพิวเตอร์ และ/หรือนวัตกรรมทางธุรกิจ
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหาความรู้ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ ประยุกต์ เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
6. ด้านทักษะพิสัย
6.1 ประยุกต์ความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
ตรรกศาสตร์ เซต ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน การเติบโตของฟังก์ชัน วิธีการพิสูจน์โดยเน้นอุปนัยวิธี ทางคณิตศาสตร์ ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น การนับ การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่ หลักการเพิ่มเข้าตัดออก ความสัมพันธ์เวียนเกิด ฟังก์ชันก่อกำเนิด กราฟและต้นไม้ การประยุกต์คณิตศาสตร์สำหรับการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ
Logic; set; relation; functions; growth of functions; proof techniques focusing on mathematical induction; basic number theory; counting; permutation and combination; inclusion–exclusion principle; recurrence relations; generating functions; graphs and trees; applying mathematics for solutions on information technology and business innovation
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น วิชาชีพ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ
2. ด้านความรู้
2.1 เข้าใจและอธิบายในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหาความรู้ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ ประยุกต์ เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
ทรัพย์สินทางปัญญา ความเป็นเจ้าของสารสนเทศ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า และความลับทางการค้า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ วัฒนธรรมองค์กร ความเป็นมืออาชีพ หลักปฏิบัติทางวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักปฏิบัติและจริยธรรมทางธุรกิจ ปัญหาเกี่ยวกับ จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเป็นส่วนตัวและความลับ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
Intellectual properties; ownership of information, copyright, patent, trademark, trade secret; computer crime; organizational culture; professionalism; codes of professional conduct in information technology; code of ethics and business conduct; ethical problems associated with information technology, privacy and confidentiality, software piracy
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.3 เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับ และวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับ และวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม
1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านธุรกิจ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านธุรกิจ
2. ด้านความรู้
2.1 เข้าใจและอธิบายในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.2 สืบค้น ตีความ วิเคราะห์ ประเมินสารสนเทศและมีทักษะการคิดแบบองค์รวม เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์และสอดคล้องกับสถานการณ์
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.3 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ
5. ด้านในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถใช้ข้อมูลเชิงตัวเลข และเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เท่าทันและเหมาะสม